ยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย
(1) การใช้มาตรการผสมผสานทั้งการบังคับ และการส่งเสริมสนับสนุนจูงใจ
(2) การใช้มาตรการที่ส่งผลกระทบในวงกว้าง สร้างความตระหนัก การเปลี่ยนพฤติกรรมและทิศทางตลาด
(3) การให้เอกชนเป็นหุ้นส่วนสำคัญในการส่งเสริมและดำเนินการ
(4) การกระจายงานอนุรักษ์พลังงานไปยังหน่วยงานที่มีความพร้อม
(5) การใช้มืออาชีพและบริษัทจัดการ พลังงาน (ESCO) เป็นกลไกสำคัญ และ
(6) การเพิ่มการพึ่งพาตนเอง และโอกาสเข้าถึงเทคโนโลยีประสิทธิภาพสูง
กลยุทธ์และมาตรการในการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วยกลยุทธ์ 5 ด้าน ได้แก่
(1) กลยุทธ์ด้านการบังคับด้วยกฎระเบียบและมาตรฐาน อาทิ การบังคับให้ติดฉลากแสดงประสิทธิภาพพลังงาน (mandatory labeling)
(2) กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ์พลังงาน เช่น การสนับสนุนการดำเนินการของบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO)
(3) กลยุทธ์ด้านการสร้างความตระหนักและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
(4) กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม และ
(5) กลยุทธ์ด้านการพัฒนากำลังคนและความสามารถเชิงสถาบัน
(2) การใช้มาตรการที่ส่งผลกระทบ
(3) การให้เอกชนเป็นหุ้นส่วนสำค
(4) การกระจายงานอนุรักษ์พลังงา
(5) การใช้มืออาชีพและบริษัทจัด
(6) การเพิ่มการพึ่งพาตนเอง และโอกาสเข้าถึงเทคโนโลยีปร
กลยุทธ์และมาตรการในการขับเ
(1) กลยุทธ์ด้านการบังคับด้วยกฎ
(2) กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมและส
(3) กลยุทธ์ด้านการสร้างความตระ
(4) กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการพ
(5) กลยุทธ์ด้านการพัฒนากำลังคน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น